เซนต์ แมกนัส
|
|
« on: August 18, 2009, 02:21:42 PM » |
|
นักวิชาการชี้ข้อสอบ GAT-PATยากเกินไปนักวิชาการจี้ยกเลิกระบบคิดคะแนนติดลบ ชี้ข้อสอบยากเกินไป ผอ.สทศ.รับลูก เตรียมวิเคราะห์หาคำตอบสัปดาห์หน้า หลังผลสอบ"GAT-PAT"ครั้งสอง เด็กทำคะแนนเฉลี่ยต่ำเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ในฐานะกำกับดูแลสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) เปิดเผยถึงกรณีผลการจัดสอบความถนัดทั่วไป (GAT) และความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการ (PAT) ครั้งที่ 2 เดือนกรกฎาคม เพื่อใช้ประกอบการสมัครรับคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ในระบบกลางการรับนิสิตนักศึกษาหรือระบบแอดมิสชั่นส์ ปีการศึกษา 2553 โดยพบว่าคะแนนเฉลี่ยทุกวิชายังไม่ถึง 50% เช่นเดิม โดยเฉพาะคะแนน PAT ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ลดลงจากการสอบครั้งแรก ทั้งที่ได้คาดการณ์กันว่าคะแนนสอบน่าจะสูงขึ้น ว่า ตนได้พูดคุยหารือกับนางอุทุมพร จามรมาน ผู้อำนวยการ สทศ.และได้มอบหมายให้ไปวิเคราะห์หาสาเหตุแล้วว่าทำไมผลการทดสอบครั้งที่สอง คะแนนจึงไม่สูงขึ้นจากครั้งแรก และบางวิชา คะแนนลดลงด้วยซ้ำ ทั้งที่นักเรียนมีความรู้เพิ่มมากขึ้นและคาดการณ์กันว่าน่าจะตั้งใจทำคะแนนมากกว่าครั้งแรก อย่างไรก็ตาม ส่วนตัวจะยังไม่ฟันธงว่าข้อสอบยากหรือไม่ได้มาตรฐาน แต่จะให้เวลา สทศ.ไปวิเคราะห์ซึ่งคิดว่าคงใช้เวลาไม่นานนัก ด้านนางอุทุมพรกล่าวว่า คะแนนเฉลี่ย PAT ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ที่ลดลงจากการสอบครั้งแรก 2-3 คะแนนนั้น อาจเป็นผลจากความคลาดเคลื่อนของเครื่องมือวัดซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ สัปดาห์หน้าจะวิเคราะห์ช่วงคะแนน 80-100 คะแนนว่าจะมีนักเรียนทำคะแนนในช่วงดังกล่าวเพิ่มสูงขึ้นจากการสอบครั้งแรกหรือไม่ ซึ่งข้อมูลนี้น่าจะวิเคราะห์ได้ดีกว่า ส่วนตัวคิดว่าจำนวนนักเรียนที่ทำคะแนนในช่วง 80-100 คะแนน น่าจะเพิ่มจำนวนสูงขึ้นกว่าการสอบครั้งแรก ซึ่งจะเป็นตัวสะท้อนให้เห็นว่านักเรียนได้เรียนรู้และคุ้นเคยกับข้อสอบลักษณะนี้มากขึ้น แต่คงไม่ใช่ด้วยเหตุผลของความยากง่ายของข้อสอบ เพราะเรื่องนี้ สทศ.ยังคงรักษาระดับความยากง่ายไว้ในการสอบทุกครั้ง นางอุทุมพรกล่าวว่า ทั้งนี้ หลังวิเคราะห์ช่วงคะแนนสอบของทุกวิชาเสร็จเรียบร้อยแล้ว สทศ.จะนำเสนอต่อ นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในฐานะประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.), รัฐมนตรีช่วยว่าการ ศธ. ในฐานะกำกับดูแล สทศ. รวมถึงนำเสนอผู้ออกข้อสอบ เพื่อจะได้พิจารณาวิเคราะห์กันต่อไป เพราะตอนนี้นายสมพงษ์ จิตระดับ อาจารย์คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ ออกมาติงว่าข้อสอบ GAT 2 ภาษาอังกฤษ ยากเกินไป แม้นำไปให้อาจารย์ในสถาบันภาษา จุฬาฯ ทดสอบ ก็ยังเห็นว่ายากเกินไปสำหรับเด็ก ซึ่งยืนยันว่าข้อสอบ GAT และ PAT ไม่ยาก เพราะถ้ายาก แปลว่าต้องออกนอกเหนือจากหลักสูตรการเรียนการสอน แต่เรายืนยันข้อสอบดังกล่าว ออกตามเนื้อหาหลักสูตรฯ เพียงแต่อาจซับซ้อนเพราะเราต้องการให้เด็กคิดวิเคราะห์เป็น อย่างไรก็ตาม เมื่อนักวิชาการติงว่ายากเกินไป จะลองวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบให้สังคมและยินดีปรับปรุงถ้าผลออกมาว่ายากจริง "ตั้งแต่การจัดสอบ GAT และ PAT ครั้งที่ 1 เดือนมีนาคม ของปี 2553 เป็นต้นไป สทศ.จะเริ่มปรับปรุงข้อสอบโดยจะเพิ่มข้อสอบลักษณะให้อ่านเรื่อง สรุปผล และเติมตัวเลขเข้ามา จากเดิมที่มีเพียง Multiple-choice หรือมีคำตอบหลายคำตอบให้เลือก ทั้งนี้การเพิ่มข้อสอบดังกล่าวเข้ามา ก็เพื่อกำจัดจุดอ่อนของข้อสอบ Multiple-choice ที่พบว่าเด็กสามารถคาดเดาได้ถูก 25% แต่การเพิ่มข้อสอบในลักษณะอ่านสรุปเรื่อง จะทำให้เด็กเดายากมากขึ้น ซึ่งจะทำให้ผลสอบสะท้อนความเป็นจริงมากขึ้น" นางอุทุมพรกล่าว ด้านนายสมพงษ์กล่าวว่า พูดคุยกับเพื่อนอาจารย์สถาบันภาษา จุฬาฯ ที่ได้นำข้อสอบ GAT 2 ภาษาอังกฤษ ไปลองทำดู พบว่ามีความยากมาก และจากการพูดคุยกับเด็กที่เข้าสอบ บอกว่าต้องนั่งอ่านข้อสอบถึงครึ่งชั่วโมงจึงจะเข้าใจและเริ่มทำข้อสอบได้ นอกจากนี้ผลคะแนนสอบ GAT 2 ภาษาอังกฤษ มีเด็กทำคะแนนได้ศูนย์คะแนนถึง 8,000 กว่าคน ดังนั้นย่อมสะท้อนถึงอะไรบางอย่างที่ สทศ.ควรต้องกลับมาวิเคราะห์ตัวเองว่าเด็กเรียนภาษาอังกฤษมา 12 ปีแต่ทำข้อสอบไม่ได้เลยนั้น เครื่องมือวัดมีปัญหาอะไรหรือไม่ โดยเฉพาะแนววิธีการวัดผลในวิชา GAT 2 ภาษาอังกฤษที่ตอบผิดแล้วติดลบนั้น ควรยกเลิกได้แล้ว เพราะทำให้เด็กไม่กล้าตอบ ซึ่งการทำข้อสอบ ก็ต้องมีการเสี่ยงเดากันบ้าง เป็นธรรมดาhttp://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1250415822&grpid=01&catid=no
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Doraemon
|
|
« Reply #1 on: August 18, 2009, 04:18:27 PM » |
|
ไม่เข้าใจว่าทำไมกระทรวงต้องกังวลเรื่องข้อสอบยาก ถ้าง่ายเกืนถึงน่าเป็นห่วง เพราะประเมินศักยภาพไม่ได้ แต่ในกรณ๊ที่ยากก็ยังคงมีคนที่ทำได้ มากน้อยคละกันไป
อีกทั้งการสอบ GAT PAT จุดมุ่งหมายก็คือเป็นการใช้คะแนนเพื่อแข่งขัน แย่งชิงที่ว่างในการเรียนมหาวิทยาลัยรัฐ ยากก็ยากทุกคน และก็ยังคงสะท้อนภาพรวมอยู่ดี
เรื่องที่น่าเป็นห่วงคือต้องถามว่าระบบการศึกษาของเราให้ความรู้กับเด็กเพียงพอหรือไมต่างหาก
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Kaizer
|
|
« Reply #2 on: August 18, 2009, 05:03:04 PM » |
|
มันน่าห่วงตรงที่ว่า ถ้ายากเกินไปจนต้องเดาล่ะครับ ถ้าเป็นข้อสอบแบบที่ออกมาแล้วไม่มีคนทำได้
แล้วคะแนนที่ออกมา เกิดจากการเดา มันจะกลายเป็นว่า สอบเพื่อวัดว่าใครดวงดีกว่าเท่านั้นเอง
เหมือนกับที่ข้อสอบที่ออกมาทุกครั้ง ขนาดให้อาจารย์ที่สอน มาทำข้อสอบเอง ยังไม่ได้เต็มเลย
ยกเว้นสายวิทยาศาสตร์ ถ้าเป็นสายสังคม-ภาษา การตีความที่ต่างกัน ก็ทำให้คนที่ทำข้อสอบคิดไม่เหมือนคนออกได้
|
|
|
Logged
|
|
|
|
stormtrooper
|
|
« Reply #3 on: August 18, 2009, 06:32:10 PM » |
|
ห้องสอบคุ้นๆแฮะ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Leraje
|
|
« Reply #4 on: August 18, 2009, 08:16:02 PM » |
|
อีก 4 ปีข้อสอบมันจะง่ายขึ้นมั้ยน้อ...
|
|
|
Logged
|
|
|
|
~NICO ROBIN~
|
|
« Reply #5 on: August 18, 2009, 10:15:56 PM » |
|
นั่นเอง จุฬา ออกมาโวยนำแล้วครับ...
ผมว่าอังกฤษยากเกินไปครับ
อันอื่นโอเค
อังกฤษบอกตามตรงเลยว่า ขนาดอาจารย์ผมยังทำไม่ได้เล
|
|
|
Logged
|
|
|
|
เซนต์ แมกนัส
|
|
« Reply #6 on: August 18, 2009, 10:27:23 PM » |
|
เขาอาจหมายถึงพื้นฐานเด็กม.ปลายในลอนดอน ก็ได้นะ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
aon
|
|
« Reply #7 on: August 18, 2009, 10:30:21 PM » |
|
อังกฤษ ผิดไม่ติดลบนี่
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Arisato
|
|
« Reply #8 on: August 18, 2009, 10:57:19 PM » |
|
เขาอาจหมายถึงพื้นฐานเด็กม.ปลายในลอนดอน ก็ได้นะ
ถ้าเป็นแบบนั้นจริง พื้นฐานของเขากับเรามันต่างกันไม่ใช่หรอครับ = =
|
|
|
Logged
|
|
|
|
XA14
|
|
« Reply #9 on: August 18, 2009, 11:53:56 PM » |
|
เฉย ๆ - -"
อังกฤษ ผมว่าไม่ยากเกินไปหรอกครับ กำลังดีเลย
โรงเรียนผม ไม่ใช่โรงเรียนดังหรือเก่งมาก ๆ แต่ก็มีคนได้คะแนน Eng มากสุด 120
ง่ายกว่านี้ เดี๋ยวเต็มกันเยอะ เดี๋ยวไม่เห็นข้อแตกต่าง - -"
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Wonderer & Summoner
|
|
« Reply #10 on: August 19, 2009, 01:25:46 AM » |
|
อังกฤษไม่ยากหรอกครับ ผมเรียนEp มา 6ปี ได้แึค่ 82
เพื่อนที่เรียนEp ด้วยกันมากสุด 120 กว่าๆ ถามคนที่เรียนโีรงเรียนEp อื่นแล้วไม่ต่างกันเท่าไร
ขนาดพวกผมใช้ภาษาอังกฤษกันตั้งแต่ ม.1 + เรียนติวเพิ่มด้วยนะ ยังได้แค่นี้เขาไม่คิดถึงคนที่ไม่ได้เรียนแบบพวกผมรึไงเนี่ย ว่าจะทำได้รึเปล่า
อาจารย์ผมเขายังบอกเลยว่า ให้I คุณคนที่คิดระบบนี้มาลองทำเองดูสิ ให้เวลาไปเรียนอีก 6 ปี ด้วยถ้าทำได้ไม่เกินครึ่งนะ เขาจะ...... (หมายถึงทุกวิชานะ)
|
|
« Last Edit: August 19, 2009, 01:27:49 AM by Wonderer & Summoner »
|
Logged
|
|
|
|
ZusS
|
|
« Reply #11 on: August 19, 2009, 01:31:38 AM » |
|
ภาษาอังกิดที่ๆคุณท่านๆออกมา ศัพท์จากไหนก็ไม่รุเตมไปหมด ในSuper Goal แทบไม่ยักเหนจะมี แต่ก็ยังจะให้เรียนอยู่นั้นแหละหนังสือเล่มนี้ให้เดกเรียนตลอด 6 ปี แล้วสุดท้ายก็ออกอะรัยมาก้อไม่รุ วิชาอื่นก็พอ โอเคครับ ไม่ได้ยากไปหรอก (มั้ง) สู้ตายย
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Wonderer & Summoner
|
|
« Reply #12 on: August 19, 2009, 01:33:35 AM » |
|
อยากบอกจวงว่ามันบอกพวกIdiom หรือสำนวน เยอะโคตรๆ คนที่ไม่เคยเจอนี่แทบล้มทั้งยืนอะ บางอันพี่ยังจำไม่ได้เลย
|
|
|
Logged
|
|
|
|
LoveL355
|
|
« Reply #13 on: August 19, 2009, 02:13:06 AM » |
|
เฉยๆอ่ะครับไม่เห็นยากเลยทำมาแล้วได้เกือบเต็มหมด
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Doraemon
|
|
« Reply #14 on: August 19, 2009, 02:33:51 AM » |
|
ใครรู้บ้างว่ามันเต็มเท่าไหร่?
|
|
|
Logged
|
|
|
|
คาร์ลิโต้ หัวฟูที่สอง
|
|
« Reply #15 on: August 19, 2009, 03:04:34 AM » |
|
น่าจะออกข้อสอบให้ยากแต่ก้อยังพอมีคนทำได้ ไม่ใช่ว่าจะให้เดาอย่างเดียว ออกง่ายไปจะวัดผลได้อย่างไร เพราะเกือบทุกคนทำได้หมดเนี่ย ส่วน GPA ก็ไม่ต้องเก็บแล้ว สอบล้วนๆเลย จะได้ัวัดกันไปเลยว่าใครเก่ง ห้องสอบคุ้นๆแฮะ
ห้องสอบนี้คุ้นมาก น่าจะเปน ม เกษตร นะ
|
|
« Last Edit: August 19, 2009, 03:22:16 AM by คาร์ลิโต้ หัวฟูที่สอง »
|
Logged
|
|
|
|
KOMODO-HUNTER
|
|
« Reply #16 on: August 19, 2009, 03:16:06 AM » |
|
ข้อสอบน่ะ ยาก-ง่าย มันไม่ได้สำคัญ เพราะมันเหมือนกันทั้งประเทศ อยู่ภายใต้การสอบเดียวกันหมดทั้งประเทศ ก็เท่าเทียมดี
GPA บางโรงเรียนให้เยอะ-น้อยไม่เท่ากัน นี่สิไม่เท่าเทียมกันจริงๆ
อยากให้ GPA 50% หรือ 100% เลยก็ได้ แต่ยกระดับมาตรฐานการศึกษาทั่วราชอาณาจักรของประเทศไทยให้เท่าเทียมกันทั้งประเทศได้ก่อน ค่อยว่ากัน
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Joseph, the Deacon
|
|
« Reply #17 on: August 19, 2009, 04:17:43 AM » |
|
สทศ.จะนำเสนอต่อ นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในฐานะประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.)
แม้ อธิการบดีจุฬา จะนั่งที่นั่งประธาน แต่จุฬา เอง ก็ ออกข้อสอบ เพื่อรับตรง หลากหลายสาขาวิชา
|
|
|
Logged
|
|
|
|
|
stormtrooper
|
|
« Reply #19 on: August 19, 2009, 05:47:43 AM » |
|
อ๊ะ
ศร.3
เข้าใจกันอยู่สามคน อาทิตย์นี้มาแข่งด้วยนะครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
เจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้
|
|
« Reply #20 on: August 19, 2009, 05:52:21 AM » |
|
อ๊ะ
ศร.3
เข้าใจกันอยู่สามคน อาทิตย์นี้มาแข่งด้วยนะครับ ไม่น่าจะไหวนะครับ 22 ก็แข่งสแตนด์ เหนื่อยโฮก - -*
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Ijiraku naruto
|
|
« Reply #21 on: August 19, 2009, 04:22:34 PM » |
|
นักวิชาการชี้ข้อสอบ GAT-PATยากเกินไปนักวิชาการจี้ยกเลิกระบบคิดคะแนนติดลบ ชี้ข้อสอบยากเกินไป ผอ.สทศ.รับลูก เตรียมวิเคราะห์หาคำตอบสัปดาห์หน้า หลังผลสอบ"GAT-PAT"ครั้งสอง เด็กทำคะแนนเฉลี่ยต่ำเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ในฐานะกำกับดูแลสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) เปิดเผยถึงกรณีผลการจัดสอบความถนัดทั่วไป (GAT) และความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการ (PAT) ครั้งที่ 2 เดือนกรกฎาคม เพื่อใช้ประกอบการสมัครรับคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ในระบบกลางการรับนิสิตนักศึกษาหรือระบบแอดมิสชั่นส์ ปีการศึกษา 2553 โดยพบว่าคะแนนเฉลี่ยทุกวิชายังไม่ถึง 50% เช่นเดิม โดยเฉพาะคะแนน PAT ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ลดลงจากการสอบครั้งแรก ทั้งที่ได้คาดการณ์กันว่าคะแนนสอบน่าจะสูงขึ้น ว่า ตนได้พูดคุยหารือกับนางอุทุมพร จามรมาน ผู้อำนวยการ สทศ.และได้มอบหมายให้ไปวิเคราะห์หาสาเหตุแล้วว่าทำไมผลการทดสอบครั้งที่สอง คะแนนจึงไม่สูงขึ้นจากครั้งแรก และบางวิชา คะแนนลดลงด้วยซ้ำ ทั้งที่นักเรียนมีความรู้เพิ่มมากขึ้นและคาดการณ์กันว่าน่าจะตั้งใจทำคะแนนมากกว่าครั้งแรก อย่างไรก็ตาม ส่วนตัวจะยังไม่ฟันธงว่าข้อสอบยากหรือไม่ได้มาตรฐาน แต่จะให้เวลา สทศ.ไปวิเคราะห์ซึ่งคิดว่าคงใช้เวลาไม่นานนัก ด้านนางอุทุมพรกล่าวว่า คะแนนเฉลี่ย PAT ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ที่ลดลงจากการสอบครั้งแรก 2-3 คะแนนนั้น อาจเป็นผลจากความคลาดเคลื่อนของเครื่องมือวัดซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ สัปดาห์หน้าจะวิเคราะห์ช่วงคะแนน 80-100 คะแนนว่าจะมีนักเรียนทำคะแนนในช่วงดังกล่าวเพิ่มสูงขึ้นจากการสอบครั้งแรกหรือไม่ ซึ่งข้อมูลนี้น่าจะวิเคราะห์ได้ดีกว่า ส่วนตัวคิดว่าจำนวนนักเรียนที่ทำคะแนนในช่วง 80-100 คะแนน น่าจะเพิ่มจำนวนสูงขึ้นกว่าการสอบครั้งแรก ซึ่งจะเป็นตัวสะท้อนให้เห็นว่านักเรียนได้เรียนรู้และคุ้นเคยกับข้อสอบลักษณะนี้มากขึ้น แต่คงไม่ใช่ด้วยเหตุผลของความยากง่ายของข้อสอบ เพราะเรื่องนี้ สทศ.ยังคงรักษาระดับความยากง่ายไว้ในการสอบทุกครั้ง นางอุทุมพรกล่าวว่า ทั้งนี้ หลังวิเคราะห์ช่วงคะแนนสอบของทุกวิชาเสร็จเรียบร้อยแล้ว สทศ.จะนำเสนอต่อ นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในฐานะประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.), รัฐมนตรีช่วยว่าการ ศธ. ในฐานะกำกับดูแล สทศ. รวมถึงนำเสนอผู้ออกข้อสอบ เพื่อจะได้พิจารณาวิเคราะห์กันต่อไป เพราะตอนนี้นายสมพงษ์ จิตระดับ อาจารย์คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ ออกมาติงว่าข้อสอบ GAT 2 ภาษาอังกฤษ ยากเกินไป แม้นำไปให้อาจารย์ในสถาบันภาษา จุฬาฯ ทดสอบ ก็ยังเห็นว่ายากเกินไปสำหรับเด็ก ซึ่งยืนยันว่าข้อสอบ GAT และ PAT ไม่ยาก เพราะถ้ายาก แปลว่าต้องออกนอกเหนือจากหลักสูตรการเรียนการสอน แต่เรายืนยันข้อสอบดังกล่าว ออกตามเนื้อหาหลักสูตรฯ เพียงแต่อาจซับซ้อนเพราะเราต้องการให้เด็กคิดวิเคราะห์เป็น อย่างไรก็ตาม เมื่อนักวิชาการติงว่ายากเกินไป จะลองวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบให้สังคมและยินดีปรับปรุงถ้าผลออกมาว่ายากจริง "ตั้งแต่การจัดสอบ GAT และ PAT ครั้งที่ 1 เดือนมีนาคม ของปี 2553 เป็นต้นไป สทศ.จะเริ่มปรับปรุงข้อสอบโดยจะเพิ่มข้อสอบลักษณะให้อ่านเรื่อง สรุปผล และเติมตัวเลขเข้ามา จากเดิมที่มีเพียง Multiple-choice หรือมีคำตอบหลายคำตอบให้เลือก ทั้งนี้การเพิ่มข้อสอบดังกล่าวเข้ามา ก็เพื่อกำจัดจุดอ่อนของข้อสอบ Multiple-choice ที่พบว่าเด็กสามารถคาดเดาได้ถูก 25% แต่การเพิ่มข้อสอบในลักษณะอ่านสรุปเรื่อง จะทำให้เด็กเดายากมากขึ้น ซึ่งจะทำให้ผลสอบสะท้อนความเป็นจริงมากขึ้น" นางอุทุมพรกล่าว ด้านนายสมพงษ์กล่าวว่า พูดคุยกับเพื่อนอาจารย์สถาบันภาษา จุฬาฯ ที่ได้นำข้อสอบ GAT 2 ภาษาอังกฤษ ไปลองทำดู พบว่ามีความยากมาก และจากการพูดคุยกับเด็กที่เข้าสอบ บอกว่าต้องนั่งอ่านข้อสอบถึงครึ่งชั่วโมงจึงจะเข้าใจและเริ่มทำข้อสอบได้ นอกจากนี้ผลคะแนนสอบ GAT 2 ภาษาอังกฤษ มีเด็กทำคะแนนได้ศูนย์คะแนนถึง 8,000 กว่าคน ดังนั้นย่อมสะท้อนถึงอะไรบางอย่างที่ สทศ.ควรต้องกลับมาวิเคราะห์ตัวเองว่าเด็กเรียนภาษาอังกฤษมา 12 ปีแต่ทำข้อสอบไม่ได้เลยนั้น เครื่องมือวัดมีปัญหาอะไรหรือไม่ โดยเฉพาะแนววิธีการวัดผลในวิชา GAT 2 ภาษาอังกฤษที่ตอบผิดแล้วติดลบนั้น ควรยกเลิกได้แล้ว เพราะทำให้เด็กไม่กล้าตอบ ซึ่งการทำข้อสอบ ก็ต้องมีการเสี่ยงเดากันบ้าง เป็นธรรมดาhttp://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1250415822&grpid=01&catid=no ตัวดูดคะแนนเลยครับอันนี้โดนมาแล้ว
|
|
|
Logged
|
|
|
|
~NICO ROBIN~
|
|
« Reply #22 on: August 19, 2009, 04:28:34 PM » |
|
ข้อสอบน่ะ ยาก-ง่าย มันไม่ได้สำคัญ เพราะมันเหมือนกันทั้งประเทศ อยู่ภายใต้การสอบเดียวกันหมดทั้งประเทศ ก็เท่าเทียมดี
GPA บางโรงเรียนให้เยอะ-น้อยไม่เท่ากัน นี่สิไม่เท่าเทียมกันจริงๆ
อยากให้ GPA 50% หรือ 100% เลยก็ได้ แต่ยกระดับมาตรฐานการศึกษาทั่วราชอาณาจักรของประเทศไทยให้เท่าเทียมกันทั้งประเทศได้ก่อน ค่อยว่ากัน
ผมว่าควรทำค่ามาตรฐานมาคิดกับเกรดของแต่ละโรนงเรียนไปเลย เช่น ตอ. 4.00 กับ รร.โนเนม 4.00 ปล่อยเกรด เมื่อเทียบกับค่ามาตรฐานแล้ว ตอ. 4.00=6.00มาตรฐาน ส่วน รร.โนเนมปล่อยเกรด 4.00 =2.75 มาตรฐาน
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Ijiraku naruto
|
|
« Reply #23 on: August 19, 2009, 04:38:20 PM » |
|
ข้อสอบน่ะ ยาก-ง่าย มันไม่ได้สำคัญ เพราะมันเหมือนกันทั้งประเทศ อยู่ภายใต้การสอบเดียวกันหมดทั้งประเทศ ก็เท่าเทียมดี
GPA บางโรงเรียนให้เยอะ-น้อยไม่เท่ากัน นี่สิไม่เท่าเทียมกันจริงๆ
อยากให้ GPA 50% หรือ 100% เลยก็ได้ แต่ยกระดับมาตรฐานการศึกษาทั่วราชอาณาจักรของประเทศไทยให้เท่าเทียมกันทั้งประเทศได้ก่อน ค่อยว่ากัน
ผมว่าควรทำค่ามาตรฐานมาคิดกับเกรดของแต่ละโรนงเรียนไปเลย เช่น ตอ. 4.00 กับ รร.โนเนม 4.00 ปล่อยเกรด เมื่อเทียบกับค่ามาตรฐานแล้ว ตอ. 4.00=6.00มาตรฐาน ส่วน รร.โนเนมปล่อยเกรด 4.00 =2.75 มาตรฐาน ถ้าทำงั้นจริงคงจะวุ่นวายน่าดูชม
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Doraemon
|
|
« Reply #24 on: August 19, 2009, 04:41:01 PM » |
|
ข้อสอบน่ะ ยาก-ง่าย มันไม่ได้สำคัญ เพราะมันเหมือนกันทั้งประเทศ อยู่ภายใต้การสอบเดียวกันหมดทั้งประเทศ ก็เท่าเทียมดี
GPA บางโรงเรียนให้เยอะ-น้อยไม่เท่ากัน นี่สิไม่เท่าเทียมกันจริงๆ
อยากให้ GPA 50% หรือ 100% เลยก็ได้ แต่ยกระดับมาตรฐานการศึกษาทั่วราชอาณาจักรของประเทศไทยให้เท่าเทียมกันทั้งประเทศได้ก่อน ค่อยว่ากัน
ผมว่าควรทำค่ามาตรฐานมาคิดกับเกรดของแต่ละโรนงเรียนไปเลย เช่น ตอ. 4.00 กับ รร.โนเนม 4.00 ปล่อยเกรด เมื่อเทียบกับค่ามาตรฐานแล้ว ตอ. 4.00=6.00มาตรฐาน ส่วน รร.โนเนมปล่อยเกรด 4.00 =2.75 มาตรฐาน แล้วโรงเรียนจะยอมกันไหมหล่ะ ทำอ่ะไม่ยากหรอก ก็เอาคะแนนสอบมาทำ percentile แล้วทำตัวคูณ จริงๆถ้าทำแบบนี้มันก็เหมือนไม่ค่อย fair และผลักดันให้เกิดการแย่งเข้าโรงเรียนดีๆอย่างรุนแรงอีก เพราะเหมือนเอาสิ่งที่บ่งบอกถึงความเป็นเข้ามาคิดคะแนน แต่ไม่ใช้ความสามารถของเค้า (Example: คุณเป็นเด็กเก่งมากในโรงเรียนปานกลาง กับคุณเป็นเด็กปานกลางในโรงเรียนเก่งมาก มันวัดได้จริงๆหรอ ว่าใครเก่งกว่ากัน มันไม่เหมือนเอาที่หนึ่งของแต่หล่ะโรงเรียนมาวัดกันนะ) วิธีที่น่าสนใจ อีกอย่างคือ ใช้ GPA เป็น requirement ในการสมัครเข้า Program (เช่นถ้าคุณอยากเรียนโปรแกรมนี้ๆ คุณต้องเอาเกรดวิชา นี้ๆๆๆ มีเฉลี่ย แล้วเกินเท่าไหร่ก็ว่ากันไป) มีหลายคนพูดวาคะแนนที่ทำกันได้สูงๆ คือ 120 อยากรู้ว่าเต็มเท่าไหร่ ใครรู้ช่วยบอกหน่อย / อีกอย่างคะแนนมันบวกอย่างเดียวหรือเปล่า มีทำผิดติดลบไหม?
|
|
|
Logged
|
|
|
|
~NICO ROBIN~
|
|
« Reply #25 on: August 19, 2009, 04:59:26 PM » |
|
ข้อสอบน่ะ ยาก-ง่าย มันไม่ได้สำคัญ เพราะมันเหมือนกันทั้งประเทศ อยู่ภายใต้การสอบเดียวกันหมดทั้งประเทศ ก็เท่าเทียมดี
GPA บางโรงเรียนให้เยอะ-น้อยไม่เท่ากัน นี่สิไม่เท่าเทียมกันจริงๆ
อยากให้ GPA 50% หรือ 100% เลยก็ได้ แต่ยกระดับมาตรฐานการศึกษาทั่วราชอาณาจักรของประเทศไทยให้เท่าเทียมกันทั้งประเทศได้ก่อน ค่อยว่ากัน
ผมว่าควรทำค่ามาตรฐานมาคิดกับเกรดของแต่ละโรนงเรียนไปเลย เช่น ตอ. 4.00 กับ รร.โนเนม 4.00 ปล่อยเกรด เมื่อเทียบกับค่ามาตรฐานแล้ว ตอ. 4.00=6.00มาตรฐาน ส่วน รร.โนเนมปล่อยเกรด 4.00 =2.75 มาตรฐาน แล้วโรงเรียนจะยอมกันไหมหล่ะ ทำอ่ะไม่ยากหรอก ก็เอาคะแนนสอบมาทำ percentile แล้วทำตัวคูณ จริงๆถ้าทำแบบนี้มันก็เหมือนไม่ค่อย fair และผลักดันให้เกิดการแย่งเข้าโรงเรียนดีๆอย่างรุนแรงอีก เพราะเหมือนเอาสิ่งที่บ่งบอกถึงความเป็นเข้ามาคิดคะแนน แต่ไม่ใช้ความสามารถของเค้า (Example: คุณเป็นเด็กเก่งมากในโรงเรียนปานกลาง กับคุณเป็นเด็กปานกลางในโรงเรียนเก่งมาก มันวัดได้จริงๆหรอ ว่าใครเก่งกว่ากัน มันไม่เหมือนเอาที่หนึ่งของแต่หล่ะโรงเรียนมาวัดกันนะ) วิธีที่น่าสนใจ อีกอย่างคือ ใช้ GPA เป็น requirement ในการสมัครเข้า Program (เช่นถ้าคุณอยากเรียนโปรแกรมนี้ๆ คุณต้องเอาเกรดวิชา นี้ๆๆๆ มีเฉลี่ย แล้วเกินเท่าไหร่ก็ว่ากันไป) มีหลายคนพูดวาคะแนนที่ทำกันได้สูงๆ คือ 120 อยากรู้ว่าเต็มเท่าไหร่ ใครรู้ช่วยบอกหน่อย / อีกอย่างคะแนนมันบวกอย่างเดียวหรือเปล่า มีทำผิดติดลบไหม? คะแนนเต็ม 150 ครับ ความรู้นิดหน่อย+ดวง....เราก็ได้แค่ 75
|
|
|
Logged
|
|
|
|
stormtrooper
|
|
« Reply #26 on: August 19, 2009, 05:27:35 PM » |
|
ข้อสอบน่ะ ยาก-ง่าย มันไม่ได้สำคัญ เพราะมันเหมือนกันทั้งประเทศ อยู่ภายใต้การสอบเดียวกันหมดทั้งประเทศ ก็เท่าเทียมดี
GPA บางโรงเรียนให้เยอะ-น้อยไม่เท่ากัน นี่สิไม่เท่าเทียมกันจริงๆ
อยากให้ GPA 50% หรือ 100% เลยก็ได้ แต่ยกระดับมาตรฐานการศึกษาทั่วราชอาณาจักรของประเทศไทยให้เท่าเทียมกันทั้งประเทศได้ก่อน ค่อยว่ากัน
ผมว่าควรทำค่ามาตรฐานมาคิดกับเกรดของแต่ละโรนงเรียนไปเลย เช่น ตอ. 4.00 กับ รร.โนเนม 4.00 ปล่อยเกรด เมื่อเทียบกับค่ามาตรฐานแล้ว ตอ. 4.00=6.00มาตรฐาน ส่วน รร.โนเนมปล่อยเกรด 4.00 =2.75 มาตรฐาน ระดับมันต่างกันขนาดนั้นเลยเรอะเกินไปมั๊ย
|
|
|
Logged
|
|
|
|
tokyo14949
|
|
« Reply #27 on: August 19, 2009, 07:15:35 PM » |
|
อังกิดนี่ตัวฉุดโหดเลยอะสำหรับผมมันคือศัพท์อะไรมาจากโลกไหนก็ไม่รู้อะ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
abeabeabe
|
|
« Reply #28 on: August 19, 2009, 09:06:23 PM » |
|
สอบตรง sure สุด
|
|
|
Logged
|
|
|
|
✖BookMan junior✖
|
|
« Reply #29 on: August 19, 2009, 09:17:50 PM » |
|
อาจารย์บอก "ถ้าข้อสอบง่ายก็แยกไม่ได้สิระหว่างคนกับควา...(เซนเซอร์)"
|
|
|
Logged
|
|
|
|
|